ชื่อตำแหน่ง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 7
ตำแหน่งประเภท ทั่วไป
หน้าที่และความรับผิดชอบ
บริหารงานในฐานะหัวหน้าหน่วยงานระดับกอง ซึ่งมีหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูงมาก รับผิดชอบงานวิเคราะห์นโยบายและแผน โดยควบคุมหน่วยงานหลายหน่วย และปกครองผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาจำนวนมาก หรือปฏิบัติงานวิเคราะห์นโยบายและแผนในลักษณะผู้ชำนายการพิเศษ หรือผู้มีความรู้ความสามารถและความชำนาญงานเทียบได้ระดับเดียวกัน และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความชำนาญพิเศษเกี่ยวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผนโดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เช่น ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ประสานแผน ประมวลแผน พิจารณา เสนอแนะเพื่อประกอบการกำหนดนโยบาย จัดทำแผนหรือโครงการ ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน
ตามแผนและโครงการต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคงของประเทศ ทั้งนี้ อาจเป็นนโยบาย แผนงาน และโครงการระดับชาติ ระดับกระทรวง ระดับกรม หรือระดับจังหวัดแล้วแต่กรณี ฝึกอบรม ให้คำปรึกษาแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจง
เรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการต่าง ๆ ตามที่ได้รับแต่งตั้ง เข้าร่วมประชุมในการกำหนดนโยบายและแผนงานของส่วนราชการที่สังกัดและปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
ในฐานะหัวหน้าหน่วยงาน นอกจากอาจปฏิบัติงานดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังทำหน้าที่กำหนดนโยบายการปฏิบัติงาน พิจารณาวางอัตรากำลังเจ้าหน้าที่และงบประมาณของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ติดต่อประสานงานวางแผน มอบหมายงาน วินิจฉัย สั่งการ ควบคุม ตรวจสอบ ให้คำปรึกแนะนำ ปรับปรุงแก้ไข ติดตามประเมินผลและแก้ปัญหาขัดข้องในการปฏิบัติงานในหน่วยงานที่รับผิดชอบด้วย
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
1. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 หรือเจ้าหน้าที่
วิเคราะห์นโยบายและแผน 4 ข้อ 2และได้ดำรงตำแหน่งในระดับ 6 หรือที่ ก.ท.เทียบเท่ามาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี โดยจะต้องปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผน หรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องมาแล้วไม่น้อยกว่า
1 ปี หรือ
2. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 หรือเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 4 ข้อ 2 และได้ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับ 5 หรือที่ ก.ท.เทียบเท่ามาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี โดยจะต้องปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผน หรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องมาแล้ว
ไม่น้อยกว่า 1 ปี
ความรู้ความสามารถที่ต้องการ
นอกจากจะมีความรู้ความสามารถเช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 6 แล้ว จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในนโยบายการบริหารงานของรัฐบาล และปัญหาด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
Thai OSM : Thailand Office of Strategy Management
การบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์
เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 6
ชื่อตำแหน่ง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 6
ตำแหน่งประเภท ทั่วไป
หน้าที่และความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้าหน่วยงานระดับกอง ซึ่งมีหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูง หรือในฐานะผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยงาน ซึ่งเป็นตำแหน่งที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานเทียบได้ระดับเดียวกัน รับผิดชอบงานวิเคราะห์นโยบายและแผน โดยควบคุมหน่วยงานหลายหน่วยและปกครองผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาจำนวนมากพอสมควร หรือปฏิบัติงานวิเคราะห์นโยบายและแผนในลักษณะผู้ชำนาญการ หรือผู้มีความรู้ความสามารถและความชำนาญงานเทียบได้ระดับเดียวกัน และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความชำนาญเกี่ยวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผน โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เช่น ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ประสานแผน ประมวลแผน พิจารณาเสนอแนะเพื่อประกอบการกำหนดนโยบาย จัดทำแผนหรือโครงการ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนและโครงการต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคงของประเทศทั้งนี้ อาจเป็นนโยบาย แผนงานเมืองพัทยา และโครงการระดับชาติ หรือระดับจังหวัด แล้วแต่กรณี ฝึกอบรมให้คำปรึกษาแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการต่าง ๆตามที่ได้รับแต่งตั้งเข้าร่วมประชุมในการกำหนดนโยบายและแผนงานของส่วนราชการที่สังกัด และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
ในฐานะหัวหน้าหน่วยงาน นอกจากอาจปฏิบัติงานดังกล่าวข้างต้นบ้างแล้ว ยังทำหน้าที่กำหนดนโยบายการปฏิบัติงาน พิจารณาวางอัตรากำลังเจ้าหน้าที่และงบประมาณของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ติดต่อประสานงานวางแผน มอบหมายงาน วินิจฉัย สั่งการ ควบคุม ตรวจสอบ ให้คำปรึกษาแนะนำ ปรับปรุงแก้ไข ติดตามประเมินผลและแก้ปัญหาขัดข้องในการปฏิบัติงานในหน่วยงานที่รับผิดชอบด้วย
ในฐานะผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยงาน ทำหน้าที่ช่วยหัวหน้าหน่วยงานปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
1. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 หรือเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 4 ข้อ 2 และได้ดำรงตำแหน่งในระดับ 5 หรือที่ ก.ท.เทียบเท่ามาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี โดยจะต้องปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผน หรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือ
2. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 หรือเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 4 ข้อ 2 และได้ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับ 4 หรือที่ ก.ท.เทียบเท่ามาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี โดยจะต้องปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผน หรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี
ความรู้ความสามารถที่ต้องการ
นอกจากจะมีความรู้ความสามารถเช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 5 แล้ว จะต้อง
1. มีความสามารถในการบริหารงานและจัดระบบงาน
2. มีความสามารถในการริเริ่ม ปรับปรุงนโยบายและแผนงาน
3. มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์ ในการทำแผ่นตารางทำการ (Spread Sheet)
ตำแหน่งประเภท ทั่วไป
หน้าที่และความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้าหน่วยงานระดับกอง ซึ่งมีหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูง หรือในฐานะผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยงาน ซึ่งเป็นตำแหน่งที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานเทียบได้ระดับเดียวกัน รับผิดชอบงานวิเคราะห์นโยบายและแผน โดยควบคุมหน่วยงานหลายหน่วยและปกครองผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาจำนวนมากพอสมควร หรือปฏิบัติงานวิเคราะห์นโยบายและแผนในลักษณะผู้ชำนาญการ หรือผู้มีความรู้ความสามารถและความชำนาญงานเทียบได้ระดับเดียวกัน และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความชำนาญเกี่ยวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผน โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เช่น ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ประสานแผน ประมวลแผน พิจารณาเสนอแนะเพื่อประกอบการกำหนดนโยบาย จัดทำแผนหรือโครงการ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนและโครงการต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคงของประเทศทั้งนี้ อาจเป็นนโยบาย แผนงานเมืองพัทยา และโครงการระดับชาติ หรือระดับจังหวัด แล้วแต่กรณี ฝึกอบรมให้คำปรึกษาแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการต่าง ๆตามที่ได้รับแต่งตั้งเข้าร่วมประชุมในการกำหนดนโยบายและแผนงานของส่วนราชการที่สังกัด และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
ในฐานะหัวหน้าหน่วยงาน นอกจากอาจปฏิบัติงานดังกล่าวข้างต้นบ้างแล้ว ยังทำหน้าที่กำหนดนโยบายการปฏิบัติงาน พิจารณาวางอัตรากำลังเจ้าหน้าที่และงบประมาณของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ติดต่อประสานงานวางแผน มอบหมายงาน วินิจฉัย สั่งการ ควบคุม ตรวจสอบ ให้คำปรึกษาแนะนำ ปรับปรุงแก้ไข ติดตามประเมินผลและแก้ปัญหาขัดข้องในการปฏิบัติงานในหน่วยงานที่รับผิดชอบด้วย
ในฐานะผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยงาน ทำหน้าที่ช่วยหัวหน้าหน่วยงานปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
1. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 หรือเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 4 ข้อ 2 และได้ดำรงตำแหน่งในระดับ 5 หรือที่ ก.ท.เทียบเท่ามาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี โดยจะต้องปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผน หรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือ
2. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 หรือเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 4 ข้อ 2 และได้ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับ 4 หรือที่ ก.ท.เทียบเท่ามาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี โดยจะต้องปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผน หรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี
ความรู้ความสามารถที่ต้องการ
นอกจากจะมีความรู้ความสามารถเช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 5 แล้ว จะต้อง
1. มีความสามารถในการบริหารงานและจัดระบบงาน
2. มีความสามารถในการริเริ่ม ปรับปรุงนโยบายและแผนงาน
3. มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์ ในการทำแผ่นตารางทำการ (Spread Sheet)
เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 5
ชื่อตำแหน่ง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 5
ตำแหน่งประเภท ทั่วไป
หน้าที่และความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้าหน่วยงานระดับแผนก ซึ่งมีหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูงมาก หรือในฐานะผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยงาน ซึ่งเป็นตำแหน่งที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานเทียบได้ระดับเดียวกัน รับผิดชอบงานวิเคราะห์นโยบายและแผน โดยควบคุมตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่หรือปกครองผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาจำนวนพอสมควร หรือปฏิบัติงานวิเคราะห์นโยบายและแผนที่ยากมาก โดยไม่จำเป็นต้องมีผู้กำกับตรวจสอบ หรือผู้มีความรู้ ความสามารถ และความชำนาญเทียบได้ระดับเดียวกัน และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ปฏิบัติงานที่ยากมากเกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบายและแผน โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เช่น ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ประสานแผน ประมวลแผนการดำเนินการงานตามแผนและโครงการต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นนโยบาย แผนงานเทศบาลและโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหารหรือความมั่นคงของประเทศ ทั้งนี้ อาจเป็นนโยบายแผนงานและโครงการระดับชาติ หรือระดับจังหวัดแล้วแต่กรณี ฝึกอบรมให้คำปรึกษาแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานในหน้าที่ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง ในฐานะหัวหน้าหน่วยงาน นอกจากอาจปฏิบัติงานดังกล่าวข้างต้นบ้างแล้ว ยังทำหน้าที่ติดต่อประสานงาน วางแผน มอบหมายงาน ควบคุม ตรวจสอบ ให้คำปรึกษา แนะนำ ปรับปรุงแก้ไข ติดตามประเมินผล และแก้ปัญหาขัดข้องในการปฏิบัติงานในหน่วยงานที่รับผิดชอบ ในฐานะผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยงาน ทำหน้าที่ช่วยหัวหน้าหน่วยงานปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
1. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 หรือเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 4 ข้อ 2 และได้ดำรงตำแหน่งในระดับ 4 หรือที่ ก.ท.เทียบเท่ามาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี โดยจะต้องปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผน หรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือ
2. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 และได้ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับ 3 หรือที่ ก.ท.เทียบเท่ามาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี โดยจะต้องปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผน หรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี กำหนดระยะเวลา 4 ปี ให้ลดเป็น 3 ปี สำหรับผู้มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 4 ข้อ 2
ความรู้ความสามารถที่ต้องการ
นอกจากจะมีความรู้ความสามารถเช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 4 แล้วจะต้อง
1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการบริหารงานบุคคล
2. มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
3. มีความรู้ความเข้าใจในงานของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในหน้าที่
ตำแหน่งประเภท ทั่วไป
หน้าที่และความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้าหน่วยงานระดับแผนก ซึ่งมีหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูงมาก หรือในฐานะผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยงาน ซึ่งเป็นตำแหน่งที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานเทียบได้ระดับเดียวกัน รับผิดชอบงานวิเคราะห์นโยบายและแผน โดยควบคุมตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่หรือปกครองผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาจำนวนพอสมควร หรือปฏิบัติงานวิเคราะห์นโยบายและแผนที่ยากมาก โดยไม่จำเป็นต้องมีผู้กำกับตรวจสอบ หรือผู้มีความรู้ ความสามารถ และความชำนาญเทียบได้ระดับเดียวกัน และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ปฏิบัติงานที่ยากมากเกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบายและแผน โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เช่น ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ประสานแผน ประมวลแผนการดำเนินการงานตามแผนและโครงการต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นนโยบาย แผนงานเทศบาลและโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหารหรือความมั่นคงของประเทศ ทั้งนี้ อาจเป็นนโยบายแผนงานและโครงการระดับชาติ หรือระดับจังหวัดแล้วแต่กรณี ฝึกอบรมให้คำปรึกษาแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานในหน้าที่ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง ในฐานะหัวหน้าหน่วยงาน นอกจากอาจปฏิบัติงานดังกล่าวข้างต้นบ้างแล้ว ยังทำหน้าที่ติดต่อประสานงาน วางแผน มอบหมายงาน ควบคุม ตรวจสอบ ให้คำปรึกษา แนะนำ ปรับปรุงแก้ไข ติดตามประเมินผล และแก้ปัญหาขัดข้องในการปฏิบัติงานในหน่วยงานที่รับผิดชอบ ในฐานะผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยงาน ทำหน้าที่ช่วยหัวหน้าหน่วยงานปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
1. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 หรือเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 4 ข้อ 2 และได้ดำรงตำแหน่งในระดับ 4 หรือที่ ก.ท.เทียบเท่ามาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี โดยจะต้องปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผน หรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือ
2. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 และได้ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับ 3 หรือที่ ก.ท.เทียบเท่ามาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี โดยจะต้องปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผน หรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี กำหนดระยะเวลา 4 ปี ให้ลดเป็น 3 ปี สำหรับผู้มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 4 ข้อ 2
ความรู้ความสามารถที่ต้องการ
นอกจากจะมีความรู้ความสามารถเช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 4 แล้วจะต้อง
1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการบริหารงานบุคคล
2. มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
3. มีความรู้ความเข้าใจในงานของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในหน้าที่
เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 4
ชื่อตำแหน่ง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 4
ตำแหน่งประเภท ทั่วไป
หน้าที่และความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้าหน่วยงานระดับแผนซึ่งมีหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูงหรือในฐานะผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยงาน ซึ่งเป็นตำแหน่งที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานเทียบได้ระดับเดียวกัน รับผิดชอบงานวิเคราะห์นโยบายและแผน โดยควบคุมตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่หรือปกครองผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาจำนวนหนึ่งหรือปฏิบัติงานวิเคราะห์นโยบายและแผนงานที่ค่อนข้างยากมาก โดยไม่จำเป็นต้องมีผู้กำกับตรวจสอบ หรือภายใต้การตรวจสอบบ้าง หรือผู้มีความรู้ ความสามารถ และความชำนาญงานเทียบได้ระดับเดียวกัน และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ปฏิบัติงานที่ค่อนข้างยากมากเกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบายและแผน โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เช่น ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ประสานแผน ประมวลแผน พิจารณา เสนอแนะ เพื่อประกอบการกำหนดนโยบาย จัดทำแผนหรือโครงการ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนและโครงการต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นนโยบาย แผนงานและโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคงของประเทศ ทั้งนี้ อาจเป็นนโยบาย แผนงานเทศบาล แผนงานเมืองพัทยา และโครงการระดับชาติแล้วแต่กรณี ให้คำปรึกษา แนะนำในทางปฏิบัติแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา ตอบปัญหาและชี้แจงเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
ในฐานะหัวหน้าหน่วยงาน นอกจากอาจปฏิบัติงานดังกล่าวข้างต้นบ้างแล้ว ยังทำหน้าที่ติดต่อประสานงาน วางแผน มอบหมายงาน ควบคุม ตรวจสอบ ให้คำปรึกษาแนะนำปรับปรุงแก้ไข ติดตามประเมินผล และแก้ปัญหาขัดข้องในการปฏิบัติงานในหน่วยงานที่รับผิดชอบด้วย ในฐานะผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยงาน ทำหน้าที่ช่วยหัวหน้าหน่วยงานปฏิบัติงานตามที่ได้รับ
มอบหมาย
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
1. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 และได้ดำรงตำแหน่งในระดับ 3 หรือที่ ก.ท.เทียบเท่ามาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี โดยจะต้องปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผนหรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี กำหนด 2 ปี ให้ลดเป็น 1 ปี สำหรับ
ผู้มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งข้อ 2
2. ได้รับปริญญาโทหรือเทียบเท่าได้ไม่ต่ำกว่านี้ทางสังคมศาสตร์ การวางแผน การบริหาร วิจัยทางสังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ หรือทางอื่นที่ ก.ท. กำหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งนี้ได้
ความรู้ความสามารถที่ต้องการ
นอกจากจะมีความรู้ความสามารถเช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 แล้วจะต้อง
1. มีความรู้ความเข้าใจในนโยบายและแผนงานด้านต่าง ๆ ของส่วนราชการที่สังกัด
2. ความสามารถในการจัดทำแผนงาน ควบคุม ตรวจสอบ ให้คำปรึกษาแนะนำ และเสนอแนะการแก้ไขปรับปรุงการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบ
3. มีความสามารถในการปกครองบังคับบัญชา
4. มีความสามารถในการติดต่อประสานงาน
ตำแหน่งประเภท ทั่วไป
หน้าที่และความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้าหน่วยงานระดับแผนซึ่งมีหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูงหรือในฐานะผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยงาน ซึ่งเป็นตำแหน่งที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานเทียบได้ระดับเดียวกัน รับผิดชอบงานวิเคราะห์นโยบายและแผน โดยควบคุมตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่หรือปกครองผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาจำนวนหนึ่งหรือปฏิบัติงานวิเคราะห์นโยบายและแผนงานที่ค่อนข้างยากมาก โดยไม่จำเป็นต้องมีผู้กำกับตรวจสอบ หรือภายใต้การตรวจสอบบ้าง หรือผู้มีความรู้ ความสามารถ และความชำนาญงานเทียบได้ระดับเดียวกัน และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ปฏิบัติงานที่ค่อนข้างยากมากเกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบายและแผน โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เช่น ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ประสานแผน ประมวลแผน พิจารณา เสนอแนะ เพื่อประกอบการกำหนดนโยบาย จัดทำแผนหรือโครงการ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนและโครงการต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นนโยบาย แผนงานและโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคงของประเทศ ทั้งนี้ อาจเป็นนโยบาย แผนงานเทศบาล แผนงานเมืองพัทยา และโครงการระดับชาติแล้วแต่กรณี ให้คำปรึกษา แนะนำในทางปฏิบัติแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา ตอบปัญหาและชี้แจงเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
ในฐานะหัวหน้าหน่วยงาน นอกจากอาจปฏิบัติงานดังกล่าวข้างต้นบ้างแล้ว ยังทำหน้าที่ติดต่อประสานงาน วางแผน มอบหมายงาน ควบคุม ตรวจสอบ ให้คำปรึกษาแนะนำปรับปรุงแก้ไข ติดตามประเมินผล และแก้ปัญหาขัดข้องในการปฏิบัติงานในหน่วยงานที่รับผิดชอบด้วย ในฐานะผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยงาน ทำหน้าที่ช่วยหัวหน้าหน่วยงานปฏิบัติงานตามที่ได้รับ
มอบหมาย
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
1. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 และได้ดำรงตำแหน่งในระดับ 3 หรือที่ ก.ท.เทียบเท่ามาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี โดยจะต้องปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผนหรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี กำหนด 2 ปี ให้ลดเป็น 1 ปี สำหรับ
ผู้มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งข้อ 2
2. ได้รับปริญญาโทหรือเทียบเท่าได้ไม่ต่ำกว่านี้ทางสังคมศาสตร์ การวางแผน การบริหาร วิจัยทางสังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ หรือทางอื่นที่ ก.ท. กำหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งนี้ได้
ความรู้ความสามารถที่ต้องการ
นอกจากจะมีความรู้ความสามารถเช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 แล้วจะต้อง
1. มีความรู้ความเข้าใจในนโยบายและแผนงานด้านต่าง ๆ ของส่วนราชการที่สังกัด
2. ความสามารถในการจัดทำแผนงาน ควบคุม ตรวจสอบ ให้คำปรึกษาแนะนำ และเสนอแนะการแก้ไขปรับปรุงการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบ
3. มีความสามารถในการปกครองบังคับบัญชา
4. มีความสามารถในการติดต่อประสานงาน
เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3
ชื่อตำแหน่ง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3
ตำแหน่งประเภท ทั่วไป
หน้าที่และความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานขั้นต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบายและแผน ภายใต้การกำกับตรวจสอบโดยใกล้ชิด และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
เป็นเจ้าหน้าที่ชั้นต้นทำหน้าที่ช่วยศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ประสานแผน ประมวลแผน
เพื่อเสนอแนะเพื่อประกอบการกำหนดนโยบาย จัดทำแผนหรือโครงการ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนและโครงการต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นนโยบาย แผนงานและโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคงของประเทศ ทั้งนี้ อาจเป็นนโยบาย แผนงานเทศบาล แผนงานเมืองพัทยา แผนงานจังหวัด และโครงการระดับชาติ หรือระดับจังหวัดแล้วแต่กรณี และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
ได้รับปริญญาตรีหรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ทางสังคมศาสตร์ การวางแผน วิจัยทางสังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ หรือทางอื่นที่ ก.ท.กำหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งนี้ได้
ความรู้ความสามารถที่ต้องการ
1. มีความรู้ในวิชาการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การวางแผนและการบริหารอย่างเหมาะสม
แก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
2. มีความรู้ ความเข้าใจในกฎหมายว่าด้วยเทศบาล กฎหมายว่าด้วยระเบียบพนักงาน
เทศบาลกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับอื่นที่ใช้
ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
3. มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม
โดยเฉพาะอย่างยิ่งของประเทศไทย
4. มีความความสามารถในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
5. มีความสามารถในการศึกษาหาข้อมูล วิเคราะห์ปัญหาและสรุปเหตุผล
ตำแหน่งประเภท ทั่วไป
หน้าที่และความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานขั้นต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบายและแผน ภายใต้การกำกับตรวจสอบโดยใกล้ชิด และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
เป็นเจ้าหน้าที่ชั้นต้นทำหน้าที่ช่วยศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ประสานแผน ประมวลแผน
เพื่อเสนอแนะเพื่อประกอบการกำหนดนโยบาย จัดทำแผนหรือโครงการ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนและโครงการต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นนโยบาย แผนงานและโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคงของประเทศ ทั้งนี้ อาจเป็นนโยบาย แผนงานเทศบาล แผนงานเมืองพัทยา แผนงานจังหวัด และโครงการระดับชาติ หรือระดับจังหวัดแล้วแต่กรณี และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
ได้รับปริญญาตรีหรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ทางสังคมศาสตร์ การวางแผน วิจัยทางสังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ หรือทางอื่นที่ ก.ท.กำหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งนี้ได้
ความรู้ความสามารถที่ต้องการ
1. มีความรู้ในวิชาการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การวางแผนและการบริหารอย่างเหมาะสม
แก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
2. มีความรู้ ความเข้าใจในกฎหมายว่าด้วยเทศบาล กฎหมายว่าด้วยระเบียบพนักงาน
เทศบาลกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับอื่นที่ใช้
ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
3. มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม
โดยเฉพาะอย่างยิ่งของประเทศไทย
4. มีความความสามารถในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
5. มีความสามารถในการศึกษาหาข้อมูล วิเคราะห์ปัญหาและสรุปเหตุผล
เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ทำงานอะไร
เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน หรือ Strategy Analyzer เป็นตำแหน่งงานที่มีอยู่ในทั้งภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะในหน่วยงานภาครัฐจะมีหน่วยงานด้านการวางแผนอยู่ เนื่องจากพันธกิจของแต่ละองค์กรมีความแตกต่างกัน เพราะฉะนั้นเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ทำงานอะไร ย่อมขึ้นอยู่กับการมอบหมายภาระงานของผู้บริหารในหน่วยงานนั้น แต่อย่างไรก็ตามหน่วยงานรัฐ หรือหน่วยงานที่มีรูปแบบธุรกิจคล้ายกันเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน มักจะทำงานในลักษณะใกล้เคียงกัน
เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ทำงานอะไร
ถึงแม้เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ของแต่ละองค์กรจะมีภาระงานที่ต่างกัน แต่ยังไม่งานหลักๆ ที่มีความคล้ายกันนั้นคือ การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวิเคราะห์ การวิจัย ประสานงานด้านแผน ประเมินแผนทั้งแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการ รวมไปถึงให้ข้อเสนอแนะในการดำเนินด้านแผน เพื่อให้องค์กรบรรลุตามวิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ได้กำหนดไว้
ตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน อาจจะไม่ใช่หน่วยงานที่เป็นหน่วยงานหลักที่จะทำให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย ไม่ใช่หน่วยงานที่เป็นกำลังการผลิต แต่เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน จะช่วยให้หน่วยงานนั้นๆ สามารถบรรลุวิสัยทัศน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
ส่วนภาระงานนอกเหนือจากนี้ ก็ขึ้นอยู่กับแต่ละองค์กรที่จะออกแบบให้มีความเหมาะสม ซึ่งทำให้เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน แต่ละองค์กรมีการทำงานแตกต่างกันออกไปบ้างส่วน
เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ทำงานอะไร
ถึงแม้เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ของแต่ละองค์กรจะมีภาระงานที่ต่างกัน แต่ยังไม่งานหลักๆ ที่มีความคล้ายกันนั้นคือ การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวิเคราะห์ การวิจัย ประสานงานด้านแผน ประเมินแผนทั้งแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการ รวมไปถึงให้ข้อเสนอแนะในการดำเนินด้านแผน เพื่อให้องค์กรบรรลุตามวิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ได้กำหนดไว้
ตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน อาจจะไม่ใช่หน่วยงานที่เป็นหน่วยงานหลักที่จะทำให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย ไม่ใช่หน่วยงานที่เป็นกำลังการผลิต แต่เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน จะช่วยให้หน่วยงานนั้นๆ สามารถบรรลุวิสัยทัศน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
ส่วนภาระงานนอกเหนือจากนี้ ก็ขึ้นอยู่กับแต่ละองค์กรที่จะออกแบบให้มีความเหมาะสม ซึ่งทำให้เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน แต่ละองค์กรมีการทำงานแตกต่างกันออกไปบ้างส่วน
การพัฒนาองค์กร (OD) คืออะไร
มีหลายคนมากๆ ที่ถามผมมาโดยตลอด เมื่อเจอกันครั้งแรกว่า “คุณทำงานอะไร”
ผมได้แต่ตอบพวกเขาไปว่า “ผมเป็นนักจิตวิทยาพัฒนาองค์กร ผมเปิดบริษัททำ OD”
นั่นเป็นคำตอบที่เหมือนจะทำให้คนที่ถามผม งงเข้าไปใหญ่
บางคนก็ถามกลับว่า
“แล้ว OD คืออะไร” “มันคือที่ไปกู้แบงค์มาเกินวงเงินใช่ไหม”
“คุณเป็นพนักงานธนาคารงั้นเหรอ ธนาคารไหนหล่ะ”
และอีกสารพัดคำถามที่ผมเจอ
แต่ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยรู้กันว่า OD คืออะไร
OD ย่อมาจากคำว่า Organization Development แปลว่า การพัฒนาองค์กร
มีหลายคนพอจะเข้าใจ และบางคน นำไปผูกเข้ากับกิจกรรมของบริษัทของตนที่เคยทำมา
“ใช่ ที่ไปจัดกิจกรรมให้หน่วยงานของรัฐ หรือ บริษัทเขาทำกิจกรรมกันสนุกๆ
ตามรีสอร์ท โรงแรม หรือ กิจกรรมกลางแจ้ง ใช่ไหมคะ”
“อ้อ ถ้างั้นอย่างนี้มีเยอะครับ บริษัทผมก็เพิ่งจ้างคนมาจัดกิจกรรมเรียกว่าอะไรนะ
กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ละลายพฤติกรรม หรือ Team Building
บริษัทผมเพิ่งจัดไปปลายเดือนที่แล้วนี่เอง”
มีหลากหลายความเข้าใจมากๆ ที่ทำให้ผมและทีมงานของผม ต้องมาชี้แจงแถลงไขในครั้งนี้
เพื่อทำให้รู้ว่า OD มีอะไรมากกว่าความสนุก หรือเพียงแค่การไปนั่งฟังบรรยาย 1 วันเต็มเสียอีก
มันยังพัฒนาองค์กรของคุณให้เข้าใกล้เป้าหมาย (Vision) ขององค์กรมากขึ้นไปอย่างยั่งยืนอีกด้วย
ตกลงแล้ว OD คืออะไรกันแน่
หากถามว่า “คนที่ผมพบ แล้วรู้จักงาน OD นั้นมีความเข้าใจที่ผิดหรือไม่”
ผมขอตอบได้เลยว่า “ไม่ผิดครับ แต่ไม่ถูกต้องทั้งหมด มันถูกแค่ส่วนเดียวเองครับ”
จริง ๆ แล้วคำว่า OD หรือ การพัฒนาองค์กร นั้น
ลึกซึ้งลงไปมากกว่าการจัดกิจกรรมสนุกๆ เยอะครับ
มาค่อย ๆ ดูกันดีกว่านะครับว่า จริงๆ แล้ว OD มันคืออะไรกันแน่
เริ่มจากความหมายที่แท้จริงของคำว่า OD กันก่อนดีกว่านะครับ
OD = Organization + Development = องค์กร + การพัฒนา
มาเริ่มกับคำว่า Organization หรือ องค์กร กันก่อนนะครับ
Organization หรือ องค์กร ในความหมายเชิงองค์กรการทำงาน หมายถึง
การรวมตัวกันของคน ตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป
เพื่อทำกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง งานใดงานหนึ่ง ร่วมกัน
โดยมีจุดหมายเดียวกัน
ดังนั้น การทำงานในบริษัทแม้จะเป็นหน่วยงานเล็กสักแค่ไหน แม้เพียงคนเดียว
แต่งานนั้นมีผลต่อจุดมุ่งหมายของบริษัท ก็ถือว่าเป็น “องค์กร” หรือ การทำงานแม้จะมีจุดมุ่งหมายที่ไม่ได้อยู่ที่
ตัวเงิน เช่น วัด มูลนิธิ สมาคม กลุ่ม NGO หรือ กลุ่มไม่แสวงหาผลกำไร หากเข้าหลัก ทำงานหนึ่งที่มีจุดหมาย
เดียวกัน ก็ถือว่าเป็น “องค์กร”
มาต่อที่คำว่า Development หรือ การพัฒนา กันต่อนะครับ
Development หรือ การพัฒนา หมายถึง
การทำให้ดีกว่าเดิม การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนจากระดับหนึ่ง ไปสู่ระดับหนึ่งที่ดีกว่า
ดังนั้น การกระทำใดก็ตาม ที่ทำให้สิ่งๆ หนึ่ง สิ่งๆ นั้น ดีขึ้นกว่าเดิม อาทิเช่น
การประดิษฐ์อุปกรณ์ชิ้นเดิม ให้ทำงานได้ดีขึ้น นั่นเรียกได้ว่า “การพัฒนา”
การเล่นฟุตบอล จากเดิมที่เล่นไม่ค่อยได้ เป็นเล่นได้เก่งขึ้น นั่นเรียกได้ว่า “การพัฒนา”
การกระทำที่สามารถทำให้การกระทำต่างๆ ทำได้ง่ายขึ้น เร็วขึ้น นั่นเรียกได้ว่า “การพัฒนา”
เมื่อนำ 2 คำมารวมกัน
Organization Development = การพัฒนาองค์กร หมายถึง
กระบวนการใดก็ตามที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กร
เพื่อให้องค์กรนั้น เข้าใกล้เป้าหมายที่วางเอาไว้ได้ ดีขึ้นกว่าเดิม
อาทิเช่น องค์กรธุรกิจ มีการพัฒนา ให้สามารถ หารายได้เข้าสู่องค์กร ได้ง่ายขึ้น เร็วขึ้น มากขึ้น
ไม่ว่าจะเป็น การเพิ่มกำไร ลดต้นทุน เพิ่มความพึงพอใจให้ลูกค้า
องค์กรภาครัฐ มีการพัฒนารูปแบบการทำงาน ให้บริการกับประชาชน ได้ดีขึ้น ง่ายขึ้น เร็วขึ้น
โดยคำนึงถึงความพอใจของประชาชนส่วนใหญ่เป็นสำคัญ
ดังนั้นจะเห็นได้ว่า การพัฒนาองค์กรนั้น มีความหมายโดยรวมแล้ว
คือ “การทำให้องค์กรบรรลุเป้าหมายได้ดีขึ้น อย่างยั่งยืน”
มิใช่เพียงการสร้างความสุข สนุกสนาน เท่านั้น
แต่จะต้องสร้าง “โครงสร้างหรือระบบ” ที่ดี
ที่ทำให้องค์กร อยู่ในระดับที่ดีขึ้นนั้นตลอดไปนั่นเอง
ผมได้แต่ตอบพวกเขาไปว่า “ผมเป็นนักจิตวิทยาพัฒนาองค์กร ผมเปิดบริษัททำ OD”
นั่นเป็นคำตอบที่เหมือนจะทำให้คนที่ถามผม งงเข้าไปใหญ่
บางคนก็ถามกลับว่า
“แล้ว OD คืออะไร” “มันคือที่ไปกู้แบงค์มาเกินวงเงินใช่ไหม”
“คุณเป็นพนักงานธนาคารงั้นเหรอ ธนาคารไหนหล่ะ”
และอีกสารพัดคำถามที่ผมเจอ
แต่ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยรู้กันว่า OD คืออะไร
OD ย่อมาจากคำว่า Organization Development แปลว่า การพัฒนาองค์กร
มีหลายคนพอจะเข้าใจ และบางคน นำไปผูกเข้ากับกิจกรรมของบริษัทของตนที่เคยทำมา
“ใช่ ที่ไปจัดกิจกรรมให้หน่วยงานของรัฐ หรือ บริษัทเขาทำกิจกรรมกันสนุกๆ
ตามรีสอร์ท โรงแรม หรือ กิจกรรมกลางแจ้ง ใช่ไหมคะ”
“อ้อ ถ้างั้นอย่างนี้มีเยอะครับ บริษัทผมก็เพิ่งจ้างคนมาจัดกิจกรรมเรียกว่าอะไรนะ
กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ละลายพฤติกรรม หรือ Team Building
บริษัทผมเพิ่งจัดไปปลายเดือนที่แล้วนี่เอง”
มีหลากหลายความเข้าใจมากๆ ที่ทำให้ผมและทีมงานของผม ต้องมาชี้แจงแถลงไขในครั้งนี้
เพื่อทำให้รู้ว่า OD มีอะไรมากกว่าความสนุก หรือเพียงแค่การไปนั่งฟังบรรยาย 1 วันเต็มเสียอีก
มันยังพัฒนาองค์กรของคุณให้เข้าใกล้เป้าหมาย (Vision) ขององค์กรมากขึ้นไปอย่างยั่งยืนอีกด้วย
ตกลงแล้ว OD คืออะไรกันแน่
หากถามว่า “คนที่ผมพบ แล้วรู้จักงาน OD นั้นมีความเข้าใจที่ผิดหรือไม่”
ผมขอตอบได้เลยว่า “ไม่ผิดครับ แต่ไม่ถูกต้องทั้งหมด มันถูกแค่ส่วนเดียวเองครับ”
จริง ๆ แล้วคำว่า OD หรือ การพัฒนาองค์กร นั้น
ลึกซึ้งลงไปมากกว่าการจัดกิจกรรมสนุกๆ เยอะครับ
มาค่อย ๆ ดูกันดีกว่านะครับว่า จริงๆ แล้ว OD มันคืออะไรกันแน่
เริ่มจากความหมายที่แท้จริงของคำว่า OD กันก่อนดีกว่านะครับ
OD = Organization + Development = องค์กร + การพัฒนา
มาเริ่มกับคำว่า Organization หรือ องค์กร กันก่อนนะครับ
Organization หรือ องค์กร ในความหมายเชิงองค์กรการทำงาน หมายถึง
การรวมตัวกันของคน ตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป
เพื่อทำกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง งานใดงานหนึ่ง ร่วมกัน
โดยมีจุดหมายเดียวกัน
ดังนั้น การทำงานในบริษัทแม้จะเป็นหน่วยงานเล็กสักแค่ไหน แม้เพียงคนเดียว
แต่งานนั้นมีผลต่อจุดมุ่งหมายของบริษัท ก็ถือว่าเป็น “องค์กร” หรือ การทำงานแม้จะมีจุดมุ่งหมายที่ไม่ได้อยู่ที่
ตัวเงิน เช่น วัด มูลนิธิ สมาคม กลุ่ม NGO หรือ กลุ่มไม่แสวงหาผลกำไร หากเข้าหลัก ทำงานหนึ่งที่มีจุดหมาย
เดียวกัน ก็ถือว่าเป็น “องค์กร”
มาต่อที่คำว่า Development หรือ การพัฒนา กันต่อนะครับ
Development หรือ การพัฒนา หมายถึง
การทำให้ดีกว่าเดิม การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนจากระดับหนึ่ง ไปสู่ระดับหนึ่งที่ดีกว่า
ดังนั้น การกระทำใดก็ตาม ที่ทำให้สิ่งๆ หนึ่ง สิ่งๆ นั้น ดีขึ้นกว่าเดิม อาทิเช่น
การประดิษฐ์อุปกรณ์ชิ้นเดิม ให้ทำงานได้ดีขึ้น นั่นเรียกได้ว่า “การพัฒนา”
การเล่นฟุตบอล จากเดิมที่เล่นไม่ค่อยได้ เป็นเล่นได้เก่งขึ้น นั่นเรียกได้ว่า “การพัฒนา”
การกระทำที่สามารถทำให้การกระทำต่างๆ ทำได้ง่ายขึ้น เร็วขึ้น นั่นเรียกได้ว่า “การพัฒนา”
เมื่อนำ 2 คำมารวมกัน
Organization Development = การพัฒนาองค์กร หมายถึง
กระบวนการใดก็ตามที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กร
เพื่อให้องค์กรนั้น เข้าใกล้เป้าหมายที่วางเอาไว้ได้ ดีขึ้นกว่าเดิม
อาทิเช่น องค์กรธุรกิจ มีการพัฒนา ให้สามารถ หารายได้เข้าสู่องค์กร ได้ง่ายขึ้น เร็วขึ้น มากขึ้น
ไม่ว่าจะเป็น การเพิ่มกำไร ลดต้นทุน เพิ่มความพึงพอใจให้ลูกค้า
องค์กรภาครัฐ มีการพัฒนารูปแบบการทำงาน ให้บริการกับประชาชน ได้ดีขึ้น ง่ายขึ้น เร็วขึ้น
โดยคำนึงถึงความพอใจของประชาชนส่วนใหญ่เป็นสำคัญ
ดังนั้นจะเห็นได้ว่า การพัฒนาองค์กรนั้น มีความหมายโดยรวมแล้ว
คือ “การทำให้องค์กรบรรลุเป้าหมายได้ดีขึ้น อย่างยั่งยืน”
มิใช่เพียงการสร้างความสุข สนุกสนาน เท่านั้น
แต่จะต้องสร้าง “โครงสร้างหรือระบบ” ที่ดี
ที่ทำให้องค์กร อยู่ในระดับที่ดีขึ้นนั้นตลอดไปนั่นเอง
• | บทความโดย : อาจารย์นิพัฒน์ ชัยวรมุขกุล |
กรรมการบริหาร บริษัท ABC CLUB จำกัด ที่ปรึกษาวางระบบการพัฒนาองค์กรด้วยทุนทางปัญญา โดยจิตวิทยาเชิงบวก | |
• |
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)